การดำเนินการให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562 (PDPA)
(ระบบ Online)
กำหนดการอบรมปี2565 ระบบ Online
รอบที่ | วันที่ | เวลา | ใบสมัคร |
รอบที่ 6 | วันที่ 22 ธันวาคม 2565 | 9.00-16.00 | ใบสมัคร |
Download โบชัวร์ ---> โบชัวร์
หลักสูตร 1 วัน ตั้งแต่เวลา 9.00 - 16.00 น. ระบบ Online
เนื้อหาการบรรยาย (Key Contents)
- เหตุผลและความเป็นมาของ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562
- ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ พรบ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
- ข้อมูลส่วนบุคคลที่กฎหมายคุ้มครองมีอะไรบ้าง
- ข้อมูลส่วนบุคคลที่ต้องคุ้มครอง กับข้อมูลที่ต้องยกเว้นตาม พรบ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
- สาระสำคัญของ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
- "ข้อมูลส่วนบุคคล" คืออะไรและใครคือเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล
- การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลหมายถึงอะไร มีวิธีปฏิบัติอย่างไรมีข้อยกเว้นอย่างไร?
- ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล(Controller) ผู้ประมวลข้อส่วนบุคคล(Processor) และเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (DPO)คือใคร ?มีบทบาทหน้าที่อย่างไร?
- สิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล
- หลักการขอความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล ในการเก็บข้อมูล ใช้ข้อมูล เปิดเผยข้อมูล
- ความรับผิดชอบตามกฎหมาย ทั้งโทษทางแพ่ง โทษทางอาญา และโทษปรับทางปกครอง
- ขอบเขตการใช้บังคับบริษัทในประเทศไทย บริษัทในต่างประเทศที่มีการบริการลูกค้าในไทย ต้องปรับตัวอย่างไรเพื่อรองรับการปฏิบัติตามกฎหมายนี้
- สิ่งที่องค์กรควรเตรียมความพร้อม เมื่อกฎหมายมีผลบังคับใช้
- หน่วยงานใดในองค์กรเกี่ยวข้องกับ PDPA บ้าง?
- HR –การเก็บข้อมูลพนักงาน ใบสมัครงาน กรณีเก็บข้อมูลบัตรประชาชน การติดตั้งกล้องถ่ายภาพ ถ่ายวีดีโอ เป็นต้น
- Legal and Compliance- การทำสัญญา ข้อตกลง นโยบายความเป็นส่วนบุคคล
- IT- ต้องจัดหาโปรแกรมการรักษาความปลอดภัยตามมาตรฐานขั้นต่ำ ระบบสมาชิก เว็บไซด์ต่างๆของบริษัท
- Marketing-การใช้ข้อมูลในการทำการตลาด การประชาสัมพันธ์
- Sale –การเก็บข้อมูลของลูกค้าและข้อมูลการติดต่อบุคคล
- Purchase – การเก็บข้อมูลบุคคลที่ติดต่อในการจัดซื้อจัดจ้าง
- แนวปฏิบัติเพื่อการประเมินผลกระทบด้านการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Guideline on Data Protection Impact Assessment) ตามขอบเขตของDPIA
- กรณีศึกษา/ตัวอย่างนโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Data Protection Policy)
- กรณีศึกษา/ตัวอย่างเอกสารแจ้งข้อมูลการประมวลผลข้อมูล (Privacy Notice)
จัดการข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงาน(Personal Information) ของฝ่ายHR
- ข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานและเอกสารอะไรบ้างในฝ่ายบุคคล ที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายฉบับนี้
- ใบสมัครงาน สัมภาษณ์งานและการจ้างงานมีอะไรที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงาน
- จะกำหนดนโยบาย/ระเบียบปฏิบัติการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานอย่างไร
- บทบาทหน้าที่และแนวปฏิบัติสำหรับนายจ้าง และฝ่ายบุคคล ตาม พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลตั้งแต่การกำหนดนโยบาย แนวปฏิบัติ การกำหนดเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล/การรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลขององค์กร
- นายจ้างมีสิทธิเรียก เก็บรักษา ใช้ ข้อมูลของพนักงานได้ทุกกรณีหรือไม่? ข้อมูลใดเรียกเก็บได้ ข้อมูลใดเรียกเก็บไม่ได้?
- ข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงาน กรณีใด/ประเภทใดบ้าง ต้องขอความยินยอม กรณีใด/ประเภทใด ไม่ต้องขอความยินยอมตามพ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
- เทคนิควิธีการดำเนินการด้านขอความยินยอม จากลูกจ้างเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล เพื่อใช้ในการปฏิบัติตามสัญญาจ้างแรงงาน
- HR Privacy Policyคืออะไร?และกรณีศึกษา/ตัวอย่าง การร่างนโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (HR Privacy Policy)สำหรับพนักงาน
- บริษัทจะแจ้งHR Privacy Policyให้พนักงานทราบได้ด้วยวิธีใดได้บ้าง?
- กรณีศึกษา/ตัวอย่าง การจัดทำหนังสือขอให้ลูกจ้างส่งข้อมูลส่วนบุคคล
- กรณีศึกษา/ตัวอย่าง การปรับปรุงสัญญาจ้าง
- ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน แบบฟอร์มเอกสารที่เกี่ยวข้องในฝ่ายบุคคล
- ปัญหาชวนคิด (Quiz) ที่เกี่ยวเนื่องกับพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล อาทิ
- นายจ้างมีสิทธิขอดูหลักฐานการป่วยของพนักงานได้หรือไม่ ?
- ใบสมัครที่ต้องให้ระบุข้อมูล เช่น ผู้อ้างอิง ผู้ค้ำประกัน ฯลฯ ต้องขอความยินยอมจากผู้ที่ถูก อ้างอิงหรือไม่?
- ประวัติอาชญากรรม ประวัติสุขภาพของผู้สมัครงานหรือของลูกจ้าง เป็นข้อมูลส่วนบุคคลหรือไม่?จะต้องจัดการข้อมูลเหล่านี้อย่างไร?
- การประเมินผลการทำงาน หรือความเห็นของผู้ประเมินต่อการทำงานของลูกจ้าง เป็นข้อมูลส่วนบุคคลได้หรือไม่ นายจ้างจะเปิดเผยต่อบุคคลอื่นที่สอบถามมาได้หรือไม่ ลูกจ้างยินยอมให้เปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลไว้ในสัญญาจ้าง ความยินยอมดังกล่าว ถือเป็นความยินยอมตามกฎหมายแล้วหรือไม่?
- ลูกจ้างจะยกเลิกการให้ความยินยอม ทำได้หรือไม่ มีวิธีการอย่างไร และต้องให้นายจ้างตกลงยอมให้ยกเลิกด้วยหรือไม่?
- พนักงานสามารถปฏิเสธการให้ข้อมูล หรือขอลบข้อมูลบางส่วนได้หรือไม่?
- การสแกนลายนิ้วมือพนักงาน เพื่อใช้บันทึกการมาทำงาน และควบคุมบุคคลเข้า-ออกสำนักงาน เป็นข้อมูลส่วนบุคคลหรือไม่?จะต้องจัดการข้อมูลเหล่านี้อย่างไร ?
- ฯลฯ
- ถาม-ตอบ อภิปรายแลกเปลี่ยนปัญหาการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
อัตราค่าอบรม/สัมมนา 3,900 บาท (ราคานี้รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม)
สัมมนาวันที่ 22 ธันวาคม 2665
สมัครภายใน 30 พฤศจิกายน 2565 ราคาสัมมนา 3,700 บาท
วิทยากร
อาจารย์ พลกฤต โลลาพากุล
วิทยากรผู้เชียวชาญ อาจารย์พิเศษทั้งภาครัฐและเอกชน
วิทยากรกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน
เจ้าของผลงานหนังสือ OKRs for Leader
วิธีการสมัคร
แจ้งความประสงค์ลงทะเบียนและหลักฐานชำระเงินมาที่
- E-mail : This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.
- Lind ID : kingexcel
การชำระเงินค่าอบรม/สัมมนา
- ธนาคารกรุงเทพ สาขาเซ็นทรัลพระราม 9
ชื่อบัญชี บริษัทคิงส์ออดิทแอนด์ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด
เลขที่บัญชี 877-7-24915-5
- ธนาคารกรุงเทพ สาขาโลตัสคำเที่ยง จังหวัดเชียงใหม่
ชื่อบัญชี บริษัทคิงส์ออดิทแอนด์ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด
เลขที่บัญชี 622-0-26449-0
(สามารถหักภาษี ณ ที่จ่ายในอัตรา 3%)
การยกเลิกการลงทะเบียน
คืนเงินหากได้รับแจ้งล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 7 วันก่อนวันอบรม หากไม่แจ้งตามที่กำหนดหรือยกเลิก
ท่านจะต้องชำระค่าธรรมเนียม 40% ของอัตราค่าลงทะเบียน
CONTACT 062-9481929